ป.ตรี นิเทศ
ป.ตรี นิเทศ
previous arrow
next arrow

รายละเอียดหลักสูตร

ชื่อปริญญา

ภาษาไทย: นิเทศศาสตรบัณฑิต (การสื่อสารดิจิทัล)

อักษรย่อภาษาไทย: นศ.บ. (การสื่อสารดิจิทัล)

ภาษาอังกฤษ: Bachelor of Communication Arts (Digital Communication)l and Local Administration)

อักษรย่อภาษาอังกฤษ: B. Com. Arts (Digital Communication)

วัตถุประสงค์

เพื่อผลิตบัณฑิตนิเทศศาสตร์ในระบบการศึกษาทางไกลให้มีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

1) มีความรู้ ทักษะ ความสามารถในการคิดสร้างสรรค์คอนเทนต์และสตรีมมิ่งในยุคดิจิทัล

2) มีความรู้ ทักษะ ความสามารถในการวางกลยุทธ์และประกอบกิจการสื่อสารในยุคดิจิทัล

3) มีความรู้ ทักษะ ความสามารถ ในการสร้างนวัตกรรมการสื่อสารในยุคดิจิทัล

4) มีจรรยาบรรณวิชาชีพและความรับผิดชอบต่อสังคมในยุคดิจิทัล

ผู้เรียนคือใคร

          นักสร้างสรรค์ทางสื่อวิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ ภาพยนตร์โฆษณา ประชาสัมพันธ์ สื่อชุมชน นวัตกรรมการสื่อสาร นักผลิตสื่อทางสื่อวิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ ภาพยนตร์ โฆษณา ประชาสัมพันธ์ สื่อชุมชน นวัตกรรมการสื่อสาร นักวางกลยุทธ์การสื่อสารทางสื่อวิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ ภาพยนตร์ โฆษณา ประชาสัมพันธ์ สื่อชุมชน นวัตกรรมการสื่อสาร นักนวัตกรรมการสื่อสารทางสื่อวิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ ภาพยนตร์ โฆษณา ประชาสัมพันธ์ สื่อชุมชน นวัตกรรมการสื่อสาร ผู้สื่อข่าวในสื่อต่าง ๆ ผู้จัดและผู้ผลิตรายการวิทยุ/โทรทัศน์ ผู้ประกาศ พิธีกร ผู้ดำเนินรายการ ผู้เขียนบท ผู้จัด ผู้สร้างและผู้กำกับภาพยนตร์ นักสื่อสารมวลชน นักหนังสือพิมพ์ นักโฆษณา นักประชาสัมพันธ์ นักการสื่อสาร ในภาครัฐ เอกชน และองค์กรไม่แสวงหากำไร ผู้ประกอบการธุรกิจสื่อดิจิทัล ผู้ผลิตงานวิดีโอ งานโฆษณา อิเวนต์ นักสร้างสรรค์เนื้อหาดิจิทัล นักวางแผนการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ นักออกแบบและจัดการข้อมูล นักสื่อสารองค์กร ผู้ประกอบการด้านนวัตกรรมการสื่อสาร นักสื่อสารการตลาดดิจิทัล นักสื่อสารชุมชน

รายละเอียดหลักสูตร

ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 5 ชุดวิชา (30 หน่วยกิต)

ข. หมวดวิชาเฉพาะ 14 ชุดวิชา (84 หน่วยกิต)

ค. หมวดวิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา (6 หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า 20 ชุดวิชา (120 หน่วยกิต)

รายละเอียดหลักสูตร

ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 5 ชุุดวิชา
    – บังคับ 1 ชุดวิชา
        10151 ไทยศึกษา
และเลือก 4 ชุดวิชา โดยเลือกเรียนตามกลุ่มวิชา กลุ่่มวิชาละ 1 ชุุดวิชา ต่่อไปนี้
      1) กลุ่มวิชาภาษา
         10111 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
         10162 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร
         10163 ภาษาเขมรเพื่อการสื่อสาร
         10161 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
     2) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์
         10131 สังคมมนุษย์
         10152 ไทยกับสังคมโลก
     3) กลุ่มวิชามนุุษยศาสตร์
         10103 ทักษะชีวิต
         10121 อารยธรรมมนุษย์
         10164 สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
     4)   กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์์และคณิิตศาสตร์
         10141 วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่่อชีวิต
ข. หมวดวิชาเฉพาะ 14 ชุุดวิชา
    วิชาแกน 10 ชุุดวิชา
         15206 คอนเทนต์เชิงสร้างสรรค์
         15231 หลักวิชาชีพนิเทศศาสตร์
         15232 แนวคิดและทฤษฎีการสื่่อสาร
         15266 สื่่อศึกษาในยุุคดิจิทัล
         15307 กฎหมายและจริยธรรมการสื่อสารในยุคดิจิทัล
         15335 การวิจัยการสื่่อสารและการจัดการข้อมูลในยุคดิจิทัล
         15336 การจัดการนวัตกรรมการสื่่อสารองค์กรเชิงกลยุุทธ์
         15337 การสื่่อสารเพื่่อการเปลี่่ยนแปลง
         16353 การสื่่อสารการตลาดในยุคดิจิทัล
         16412 ประสบการณ์วิชาชีพ นิเทศศาสตร์
     วิชาเฉพาะด้าน 4 ชุุดวิิชา
         16426 การสื่่อสารแบรนด์ *
         16455 การสร้างสรรค์คอนเทนต์และสตรีมมิ่ง*
         16465 นวัตกรรมการสื่่อสาร
         16466 การประกอบกิจการสื่่อสารในยุุคดิจิทัล
     * ชุดวิชาฝึกปฏิบัติ
ค. หมวดวิิชาเลือกเสรี 1 ชุุดวิิชา

หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560

ชื่อปริญญา          
ชื่อเต็ม                                      นิเทศศาสตรบัณฑิต
อักษรย่อ                                  นศ.บ.
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ             Bachelor of Communication Arts
อักษรย่อภาษาอังกฤษ         B.Com.Arts

คุณสมบัติของผู้สมัคร

  1. สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ
  2. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทุกสาขาวิชา หรือ
  3. สำเร็จการศึกษาอนุปริญญา หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่ง หรือเทียบเท่าจากสถาบันอุดมศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง

หลักสูตรประกาศนียบัตรนวัตกรรมการสื่อสารสร้างสรรค์ (พลเมืองดิจิทัล)

กิจกรรมและข่าวประชาสัมพันธ์

ภาพกิจกรรม

กรรมการบริหารหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน

รศ.ดร.ธิติพัฒน์ เอี่ยมนิรันดร์

รศ.ดร.กมลรัฐ อินทรทัศน์

รศ.ไพบูรณ์ คะเชนทรพรรค์

ผศ.ดร.ณัฐสุพงศ์ สุขโสต

อ.ดร.หัสพร ทองแดง

อ.ดร.ชนาภา หนูนาค