รองศาสตราจารย์ ดร.อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล

(1) ปริญญาตรี – วารสารศาสตร์บัณฑิต (ภาพยนตร์) คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

(2) ปริญญาโท -MA Mass Communications, University of Leicester, UK (Film and communications)

(3) ปริญญาเอก -PhD Communication and Media Studies, Loughborough University, UK

จันทนี เจริญศรี และ อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล (2565). ‘การประยุกต์ทฤษฎีการสื่อสารในภาคสังคม’ ประเด็นสาระที่ 9. ในแนวการศึกษา ทฤษฎีการสื่อสารและสังคมศาสตร์ขั้นสูง. (หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต).  นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช..

อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล (2565). ‘การวิจัยเชิงสหวิทยาการและการวิจัยแบบผสมผสาน’ ประเด็นสาระที่ 8. ในแนวการศึกษา การวิจัยทางนิเทศศาสตร์ขั้นสูง. (หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต).  นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล (2565). ‘การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพทางนิเทศศาสตร์’. ในแนวการศึกษา การวิจัยทางนิเทศศาสตร์ขั้นสูง ประเด็นสาระที่ 5 (หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล (2564). ‘องค์ประกอบและกระบวนการผลิตภาพยนตร์’. หน่วยที่ 1 ใน การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล (2563). ‘แนวทางการบริหารกิจการสื่อสาร’ หน่วยที่ 4 ใน การบริหารกิจการสื่อสาร. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

โชคชัย ชยวัฑโฒ และ อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล (2563). ‘สภาพการณ์ของอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยในยุคดิจิทัล’. หน่วยที่ 1 ใน การผลิตภาพยนตร์ขั้นสูง . นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล (2563). ‘การประเมินผลแผนการสื่อสาร’. ใน แนวการศึกษาชุดวิชาการบูรณาการและประยุกต์ใช้การบริหารกิจการสื่อสาร หน่วยที่ 4 นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล และ ไพบูรณ์ คะเชนทรพรรค์ (2563). ‘กลยุทธ์การบริหารและสร้างสรรค์เนื้อหา’ ตอนที่ 4.2  ใน กลยุทธ์การบริหารและสร้างสรรค์เนื้อหา. ประมวลสาระระดับปริญญาโท (หน่วยที่ 3) หลักสูตรบริหารกิจการสื่อสาร นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล และ จิรวุฒิ หลอมประโคน (2563). ‘กลยุทธ์การบริหารการตลาดและลูกค้า’ หน่วยที่ 3 ใน กลยุทธ์การบริหารกิจการสื่อสาร. ประมวลสาระระดับปริญญาโท (หน่วยที่ 3) หลักสูตรบริหารกิจการสื่อสาร นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ภัสวลี นิติเกษตรสุนทร และ อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล (2562). ‘สถานภาพองค์ความรู้’ . ในแนวการศึกษา สัมมนาประเด็นศึกษาทางนิเทศศาสตร์ ประเด็นสาระที่ 1 (หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล (2562). (บรรณาธิการ) ทฤษฎีและการวิจารณ์ภาพยนตร์เบื้องต้น (ชุดปรับปรุง 2561) นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล (2562). ‘แนวคิดภาพยนตร์หลังทศวรรษ 1970’ ใน อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล (บรรณาธิการ) ทฤษฎีและการวิจารณ์ภาพยนตร์เบื้องต้น (ชุดปรับปรุง 2561) นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล (2562). ‘การผลิตสื่อ’. หน่วยที่ 4 ในชุดวิชา สื่อศึกษา. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล (2561). (ประธานชุดวิชา) ‘แนวคิดพื้นฐานศิลปะภาพถ่ายและภาพยนตร์’ หน่วยที่1 ใน ศิลปะภาพถ่ายและภาพยนตร์ (ชุดปรับปรุง 2561) นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล (2561). ‘สื่อและประโยชน์สาธารณะ’ หน่วยที่ 7. ใน ชุดวิชา  นโยบายการสื่อสารและการกำกับดูแล. (นิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต) นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล (2560). ‘สื่อและอำนาจ’. ในแนวการศึกษา สัมมนาประเด็นศึกษาทางนิเทศศาสตร์ ประเด็นสาระที่ 4 (หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล (2560). ‘สื่อใหม่’. ในแนวการศึกษา ปรัชญาและทฤษฎีการสื่อสารขั้นสูง ประเด็นสาระที่ 7 (หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล (2560). ‘ปรัชญาและกระบวนทัศน์ในการแสวงหาความรู้และความจริง’  ประเด็นสาระที่ 1 ในแนวการศึกษา การวิจัยทางนิเทศศาสตร์ขั้นสูง.  (หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล (2560). ‘ความหมาย กระบวนการ และการออกแบบความคิดการวิจัย’ ประเด็นสาระที่ 2 ในแนวการศึกษา การวิจัยทางนิเทศศาสตร์ขั้นสูง. (หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล (2560). Interdisciplinary Approach and Mixed Methods. ประเด็นสาระที่ 7. ในแนวการศึกษา การวิจัยทางนิเทศศาสตร์ขั้นสูง. (หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต).  นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล (2560). ‘การบริหารกิจการสื่อสารภาคพลเมือง สื่อสาธารณะและภาคชุมชน’. หน่วยที่ 4 ใน ชุดวิชาทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารกิจการสื่อสาร. (นิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต). นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล (2559). ‘การวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยการสื่อสารชุมชน’. ใน ชุดวิชา การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

Chanrungmaneekul, U. and Anantho, S. (2016). ‘Introduction to Comparative Communication Studies’, Module1. In Synthesis Content 17704 Comparative Communication Studies. Master course of Communication Arts for ASEAN. Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat Open University. 

Wongrujira, M. and Chanrungmaneekul, U. (2016). ‘Lessons from Comparative Research of the U.S. and Europe’, Module2. In Synthesis Content 17704 Comparative Communication Studies. Master course of Communication Arts for ASEAN. Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat Open University. 

Wongrujira, M., Chanrungmaneekul, U. and Petchkaew, K. (2016). ‘Lessons from Comparative Research of Thailand, the Philippines and Singapore’, Module3. In Synthesis Content 17704 Comparative Communication Studies. Master course of Communication Arts for ASEAN. Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat Open University. 

Anantho, S., Suvachittanon, W., Chanrungmaneekul, U. and Petchkaew, K. (2016). ‘Lessons from Comparative Research of Cambodia, Laos and Myanmar and Vietnam’, Module6. In Synthesis Content 17704 Comparative Communication Studies. Master course of Communication Arts for ASEAN. Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat Open University. 

อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล (2558ก). ‘การนำเข้า-ส่งออก และการจัดจำหน่ายภาพยนตร์กระแสหลัก’. หน่วยที่ 9 ในชุดวิชา การบริหารงานภาพยนตร์. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล (2558ข). ‘การบริหารงานภาพยนตร์นอกกระแส’. หน่วยที่ 13 ในชุดวิชา การบริหารงานภาพยนตร์. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล (กำลังดำเนินการ). การสังเคราะห์สถานภาพความรู้เกี่ยวกับการสื่อสารเพื่อการขับเคลื่อนทางสังคมของขบวนการเคลื่อนไหวของคนรุ่นใหม่. ทุนสนับสนุน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Chanrungmaneekul, U. (2021). Uses of Documentary as Social Practice for Advocacy and Educating Human Rights:  A case study of The Third Eye. Funded by SHAPE-SEA Project.
อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล (2562). ธุรกิจฉายภาพยนตร์และสังคมไทย พ.ศ.2440-2561. กรุงเทพฯ: ทุนสนับสนุน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล (2560). 120ปี ธุรกิจภาพยนตร์ไทย ในประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและสังคมไทย. กรุงเทพฯ: ทุนสนับสนุนสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล (2557). การต่อรองในกระบวนการผลิตภาพยนตร์เชิงสังเกตการณ์ผ่านปฏิบัติการสังคม กรณีศึกษาการคัดค้านการขยายท่าเรือแหลมฉบังขั้นที่สาม ชุมชนบางละมุง จังหวัดชลบุรี, ชลบุรี: ทุนสนับสนุนคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
Chanrungmaneekul, U. (2009). The Global Village: Grounded Experience, Media and Response in Eastern Thailand. A Doctoral Thesis. Loughborough University, UK.
Chanrungmaneekul, U. (2009). Working Class and Youth: Cultural Identities in British Social Realism Films of the 1990s. Master degree Dissertation. Leicester University, UK. 

อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล. (2022). ‘ระบบธุรกิจการจัดจำหน่ายและฉายภาพยนตร์:ผลกระทบต่อผู้ผลิตภาพยนตร์ ผู้ชม และสังคมไทย’ ใน วารสารนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปีที่ 40 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2022).

Chanrungmaneekul, U. (June 2019). Use of Observational Documentary to Advocate Human Rights among Youth in Thailand and Myanmar: A Case Study of The Third Eye. Working Paper SHAPE SEA Research Project. Retrieve from 

http://shapesea.com/wp-content/uploads/2019/07/8-Unaloam.Academic-Paper.edited.FINAL_.pdf

อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล. (2020). 120 ปีธุรกิจภาพยนตร์ไทย: ข้อเสนอต่อรัฐและสังคมไทย. ใน วารสารนิเทศศาสตรปริทัศน์. ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 (มกราคม – เมษายน 2563).

อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล. (2 พฤศจิกายน 2018) ‘หนังสารคดีในฐานะปฏิบัติการทางสังคม ‘สิทธิมนุษยชน’ ในโลกแห่งความจริง’ (Thai and English versions) ใน Social Sign Society. ค้นได้จาก https://www.facebook.com/socialsignsociety/

อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล (2018). ‘Documentary: ความหมาย ความจริง ความลวง และสถานภาพ’  ใน Documentary Club ค้นได้จาก  http://documentaryclubthailand.com/tag/%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B8%B2%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%A1-%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%A1%E0%B8%93%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%B8/

อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล (5 May 2017) ‘เปิดกรุหนังสือเก่า ว่าด้วยภาพยนตร์และศิลปะของ ‘จิตร ภูมิศักดิ์’’ ใน The Matter  ค้นได้จาก https://thematter.co/rave/chit-phumisak-and-his-arts/23439?fbclid=IwAR0dSNcZ7AIulVWynHMsWSjDvGRCEflhyk75oxuV8f23mwS2A5VVtIkTuVw

อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล (19 ธันวาคม 2016). ‘Generation Gap กับความเห็นต่างเรื่องเสรีภาพสื่อ’. ใน The Matter.  ค้นได้จาก https://thematter.co/pulse/mass-media-mentality-vsdigitalmentality/14660?fbclid=IwAR2MJV_8815IKOiXTU2_7cIkXwnIa0LE0xC4BDzEJebhCnycqDkVH1czQqw

อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล (2559) ‘กระบวนการต่อรอง ในการผลิตภาพยนตร์เชิงสังเกตการณ์ผ่านปฏิบัติการสังคม กรณีศึกษาการคัดค้านการขยายท่าเรือแหลมฉบังเฟสสาม ชุมชนบางละมุง จังหวัดชลบุรี’. ใน วารสารศาสตร์ (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) ปีที่ 9 ฉบับที่ 1  (มกราคม-เมษายน 2559).

อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล. (2557). ‘Critical Discourse Analysis: วาทกรรม อุดมการณ์ และอำนาจ กรณีศึกษาและข้อถกเถียงสำคัญ ในบริบทการเมืองไทย’. ใน วารสารศาสตร์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2557). หน้า 115-143.

อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล. (2557). ‘Discourse Analysis: Semiology and Narratology of ‘Human Traffic’: กรณีศึกษา อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของอังกฤษในทศวรรษ 1990’. ใน วารสารนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ปีที่ 4 ฉบับที่ 8 (ตุลาคม 2557). หน้า 108-129.  

2557-ปัจจุบัน

อาจารย์ประจำสาขาวิชานิเทศศาสตร์

นักวิจัยและนักเขียนด้านสื่อมวลชน ภาพยนตร์ การสื่อสาร และสังคม 

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

2545-2557

อาจารย์ประจำภาควิชานิเทศศาสตร์ 

าจารย์ประจำหลักสูตรสื่อสารบูรณาการ นิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต

ผู้ก่อตั้งและร่างหลักสูตรนิเทศศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาภาพยนตร์และโทรทัศน์ 

ประธานสาขาวิชาภาพยนตร์และโทรทัศน์ มหาวิทยาลัยบูรพา 

ประธานโครงการวิจัยภาควิชานิเทศศาสตร์  มหาวิทยาลัยบูรพา 

มหาวิทยาลัยบูรพา

มหาวิทยาลัยบูรพา

มหาวิทยาลัยบูรพา

 

มหาวิทยาลัยบูรพา

มหาวิทยาลัยบูรพา

2531-2542

-หัวหน้าข่าว (หน้าผู้บริโภค) หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์

-ผู้ช่วยหัวหน้าข่าว (การเมือง) หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์ สยามโพสต์ กรุงเทพธุรกิจ

-รีไรท์เตอร์ และผู้สื่อข่าว (การเมือง เศรษฐกิจ ศิลปะ สิ่งแวดล้อม สารคดี) หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ หนังสือพิมพ์สยามโพสต์  และหนังสือพิมพ์สยามรัฐ

-นักเขียนสารคดี และคอลัมนิสต์บทความด้านสื่อมวลชน ภาพยนตร์ การสื่อสาร และสังคม  

-ผู้ผลิตสื่อภาพยนตร์สารคดี หนังสือ วารสาร และ ผู้บรรยายภาพยนตร์สารคดี มูลนิธิศูนย์สื่อเพื่อการพัฒนา  

-เจ้าหน้าที่ฝ่ายประชาสัมพันธ์  ธนาคารเอเชีย จำกัด